|
คู่มือการใช้ | รายชื่อสมาชิก | ปฏิทิน | ค้นหา | กระทู้ใหม่วันนี้ | ทำสัญลักษณ์ว่าอ่านแล้ว |
![]() |
|
คำสั่งเพิ่มเติม | ค้นหาในหัวข้อนี้ | เรียบเรียงคำตอบ |
|
#1
|
||||
|
||||
![]() ภาคตะวันออกเลียบชายฝั่ง
41. กรุงเทพฯ ตราด สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ ระยอง จันทบุรี สถานีขนส่งจังหวัดตราด 42. กรุงเทพฯ จันทบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ ระยอง สถานีขนส่งจังหวัดจันทบุรี 43. กรุงเทพฯ แกลง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ ระยอง อ.แกลง 44. กรุงเทพฯ ปากน้ำประแส สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ ระยอง อ.แกลง บ้านป่าเตียน(กม.378.0) แยกขวาไปตามทางหลวงจังหวัด ต.ประแส 45. กรุงเทพฯ บ้านค่าย สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ ระยอง จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 220.9 แยกซ้ายไปตามทางหลวงจังหวัดสายระยอง บ้านค่าย อ.บ้านค่าย 46. กรุงเทพฯ ระยอง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.สัตตหีบ สถานีขนส่งจังหวัดระยอง 47. กรุงเทพฯ สัตตหีบ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.ศรีราชา อ.สัตตหีบ 48. กรุงเทพฯ นาเกลือ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.ศรีราชา ตลาดนาเกลือ(อ.บางละมุง) 49. กรุงเทพฯ ศรีราชา สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี อ.ศรีราชา 50. กรุงเทพฯ ชลบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ สถานีขนส่งจังหวัดชลบุรี 51. กรุงเทพฯ บ้านบึง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 93.8 แยกซ้ายไปตามทางหลวงจังหวัดสายชลบุรี - บ้านบึง อ.บ้านบึง 52. กรุงเทพฯ พนัสนิคม สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ ชลบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 19 อ.พนัสนิคม 53. กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา(ก) สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ สามแยกบางปะกง แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 106 สถานีขนส่งจังหวัดฉะเชิงเทรา 54. กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา(ข) สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 505 (ถ.สุวินทวงศ์) อ.หนองจอก สถานีขนส่งจังหวัดฉะเชิงเทรา 55. กรุงเทพฯ บางคล้า สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ สามแยกบางปะกง แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 106 ฉะเชิงเทรา อ.บางคล้า 56. กรุงเทพฯ พนมสารคาม สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.สุขุมวิทย์) สมุทรปราการ สามแยกบางปะกง แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 106 ฉะเชิงเทรา อ.พนมสารคาม 57. กรุงเทพฯ บ้านนา สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 (ถ.สุวรรณศร) อ.หนองหมู อ.บ้านนา 58. กรุงเทพฯ นครนายก สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 (ถ.สุวรรณศร) สถานีขนส่งจังหวัดนครนายก 59. กรุงเทพฯ ปราจีนบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 (ถ.สุวรรณศร) นครนายก สถานีขนส่งจังหวัดปราจีนบุรี 60. กรุงเทพฯ อรัญญประเทศ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 (ถ.สุวรรณศร) นครนายก ปราจีนบุรี อ.สระแก้ว อ.วัฒนานคร อ.อรัญประเทศ |
#2
|
||||
|
||||
![]() ภาคใต้และภาคกลางตอนล่าง
61. กรุงเทพฯ หาดใหญ่ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ อ.ห้วยยอด ตรัง พัทลุง อ.หาดใหญ่(สงขลา) 62. กรุงเทพฯ ตรัง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง พังงา กระบี่ อ.ห้วยยอด สถานีขนส่งจังหวัดตรัง 63. กรุงเทพน ภูเก็ต สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร ระนอง สามแยกโคกกลอย แยกขวาไปตามทางหลวงสายภูเก็ต ท่านุ่น ท่าฉัตรไชย อ.ถลาง สถานีขนส่งจังหวัดภูเก็ต 64. กรุงเทพฯ ระนอง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ชุมพร สถานีขนส่งจังหวัดระนอง 65. กรุงเทพฯ ชุมพร สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ สถานีขนส่งจังหวัดชุมพร 66. กรุงเทพฯ ทับสะแก สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 364 แยกซ้ายไปตามทางหลวงสายทับสะแก อ.ทับสะแก 67. กรุงเทพฯ ประจวบคีรีขันธ์ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 323 แยกซ้ายไปตามทางหลวงสายประจวบคีรีขันธ์ สถานีขนส่งจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 68. กรุงเทพฯ กุยบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี อ.กุยบุรี 69. กรุงเทพฯ สามร้อยยอด สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ต.สามร้อยยอด 70. กรุงเทพฯ ปราณบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี อ.หัวหิน จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 256 แยกซ้ายไปตามทางหลวงจังหวัดสายปราณบุรี ต.ปากน้ำปราณบุรี 71. กรุงเทพฯ หัวหิน สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี อ.หัวหิน 72. กรุงเทพฯ ท่ายาง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 183 แยกขวาไปตามทางหลวงสายท่ายาง อ.ท่ายาง 73. กรุงเทพฯ เพชรบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี สถานีขนส่งจังหวัดเพชรบุรี 74. กรุงเทพฯ บ้านแหลม สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงจังหวัดสายเพชรบุรี บ้านแหลม อ.บ้านแหลม 75. กรุงเทพน ปากท่อ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 129 แยกซ้ายไปตามทางหลวงสายปากท่อ อ.ปากท่อ 76. กรุงเทพฯ ราชบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม สถานีขนส่งจังหวัดราชบุรี 77. กรุงเทพฯ โพธาราม สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 85 แยกขวาไปตามทางหลวงสายโพธาราม อ.โพธาราม 78. กรุงเทพฯ ดำเนินสะดวก สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม บ้านอีจาง(ประมาณกิโลเมตรที่ 83) แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 305 อ.บางแพ อ.ดำเนินสะดวก 79. กรุงเทพฯ ศรีประจันต์ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 58.9 แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 305 (ถ.มาลัยแมน) อ.กำแพงแสน จนถึงสามแยกจรเข้สามพัน แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 อ.อู่ทอง จนถึงสามแยกอู่ยา แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 305 อ.ดอนเจดีย์ อ.ศรีประจันต์ 80. กรุงเทพฯ บางลี่ สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 58.9 แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 305 (ถ.มาลัยแมน) อ.กำแพงแสน จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 46.7 แยกขวาไปตามทางหลวงจังหวัดสายอำเภอสองพี่น้อง ต.บางลี่ 81. กรุงเทพฯ กาญจนบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงสามแยกบ้านบึงกระจับ (ประมาณกิโลเมตรที่ 72.152) แล้วแยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.แสงชูโต) สถานีขนส่งจังหวัดกาญจนบุรี 82. กรุงเทพฯ บ้านโป่ง สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงสามแยกบ้านบึงกระจับ (ประมาณกิโลเมตรที่ 72.152) แล้วแยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 6 (ถ.แสงชูโต) อ.บ้านโป่ง 83. กรุงเทพฯ นครปฐม สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) สถานีขนส่งจังหวัดนครปฐม 84. กรุงเทพฯ สามพราน สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 35.840 แยกซ้ายไปตามทางหลวงสายสามพราน อ.สามพราน 85. กรุงเทพฯ สมุทรสาคร สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 24.92 แยกซ้ายไปตาม ถ.เศรษฐกิจ 1 อ.กระทุ่มแบน สถานีขนส่งจังหวัดสมุทรสาคร 86. กรุงเทพฯ นครไชยศรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 43.600 แยกขวาไปตามทางหลวงสายนครไชยศรี อ.นครไชยศรี 87. กรุงเทพฯ สามชุก สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 58.9 แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 305 (ถ.มาลัยแมน) อ.กำแพงแสน จนถึงสามแยกจรเข้สามพัน แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 อ.อู่ทอง จนถึงสามแยกอู่ยา แล้วแยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 305 อ.ดอนเจดีย์ จนถึงสามแยกตาแล แยกซ้ายไปตามคันคูชลประทาน อ.สามชุก 88. กรุงเทพฯ สุพรรณบุรี สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 58.9 แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 305 (ถ.มาลัยแมน) อ.กำแพงแสน จนถึงสามแยกจรเข้สามพัน แยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 8 อ.อู่ทอง สถานีขนส่งจังหวัดสุพรรณบุรี ประกาศ ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2507 พลโท พงษ์ ปุณณกันต์ ประธานคณะกรรมการควบคุมการขนส่ง ที่มาของข้อมูล http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DA...07/D/112/1.PDF |
#3
|
||||
|
||||
![]() มาแล้วครับ ของแท้แน่นอน หมายเลขเส้นทางไล่เรียงตั้งแต่เบอร์ 1 (เชียงใหม่-สายเก่า) ถึง 88(สุพรรณบุรี-สายเก่า) จากน้องพงษ์ ขุนคลังข้อมูลมือหนึ่งของเรา ขอบคุณน้องพงษ์มากครับ
ดูอย่างนี้แล้ว อาจสรุปได้ว่า หมายเลขเส้นทางคงจะถูกกำหนดขึ้นโดยไม่มีกฏเกณฑ์อะไร ผู้กำหนดคงจะเลือกที่จะกำหนดเอาตามความสะดวกมากกว่า ด้วยเหตุที่การคมนาคมในสมัยก่อน(ปี2507) คงยังไม่กว้างขวางนัก รัฐ(ในขณะนั้น)คงมีนโยบายและกำลังที่จะจัดรถโดยสารไป ยังหัวเมืองสำคัญๆได้เพียง 88 หัวเมืองซึ่งก็ต้องถือว่าเกือบจะครอบคลุมทั้งประเทศอ ยู่แล้ว (จังหวัดในขณะนั้นน่าจะมีไม่เกิน 70-71 จังหวัด) |
#4
|
||||
|
||||
![]() มันมีเก่ากว่านี้ครับ ซึ่งกรมการขนส่งทางบกได้กำหนดเส้นทางรถทัวร์ก่อนหน้า ชุดแรกของปี 2507 เสียอีก แต่ผมคิดว่า จัดแบบ 2507 ดูเป็นระบบมากกว่าอันเก่าที่ผมจะแปะลิงค์ทั้งสองอันน ี้มากเลยครับ
นี่คือเส้นทางรถทัวร์ยุคปี 2502 2503 ที่รัฐบาลในยุคนั้น มีการจัดระเบียบเส้นทางรถทัวร์ ก่อนที่จะเป็นอย่างในปี 2507 ครับ http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DA...02/D/107/1.PDF http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DA.../D/015/457.PDF |
#5
|
||||
|
||||
![]() ดูจากราชกิจจาฯปี 2507 ที่กำหนดเส้นทางเดินรถแล้ว
1. เส้นทางสาย 17-20 กับเส้นทางสาย 29-40 หายไปครับ หายไปเป็นช่วงๆ แสดงว่าจะต้องมีการประกาศราชกิจจาฯในฉบับหลังๆในเส้น ทางที่หายไป 2. เส้นทางสายใต้ระยะไกลมีแค่ สาย 61-65 (หาดใหญ่,ตรัง,ภูเก็ต,ระนอง และชุมพร) เท่านั้น เข้าใจว่า การเดินทางลงใต้สมัยก่อนคงจะยากลำบากพอสมควร ในขณะที่สายเหนือ-อิสาน-ตะวันออกและภาคกลาง ค่อนข้างจะทั่วถึง ทำให้สงสัยว่าพี่น้องชาวใต้สมัยก่อนเขาเดินทางกันอย่ างไร อาจเป็นไปได้ว่า ชาวปัตตานี นราธิวาส ยะลา สตูล คงจะต้องเดินทางด้วยรถยนต์สายสั้นๆมาต่อรถที่หาดใหญ่ กัน คงทุลักทุเลกันพอสมควรหละ |
#6
|
||||
|
||||
![]() อ้างถึง:
อาจจะเป็นเพราะว่า เส้นทางในฝั่งตะวันออก(อ่าวไทย) มีระบบรถไฟรองรับอยู่แล้ว ก็เลยไม่อยากไปทับเส้นทางรถไฟที่มีอยู่(เช่น สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช สงขลา นราธิวาส เป็นต้น) (*ทั้งหมดนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผมนะครับ) ปล. เดี๋ยวจะนำข้อมูลเส้นทางเดินรถ จากราชกิจจาในปี 2513 มาให้ชมนะครับ อดใจรอนิดนึงนะครับ ![]() |
#7
|
||||
|
||||
![]() อ้างถึง:
|
#8
|
||||
|
||||
![]() ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งฉบับที่ 143 พ.ศ.2510 เรื่องกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งรถโดยสารประจำทางด้ วยรถยนต์โดยสารระหว่างจังหวัด (เฉพาะเริ่มต้นจากจังหวัดพระนคร) 17. กรุงเทพฯ ชัยนาท สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง สระบุรี ลพบุรี แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 605 อ.ท่าวุ้ง สิงห์บุรี อ.อินทร์บุรี อ.สรรพยา สามแยกบ้านดอนเสือ แยกขวาไปตามถนนสายชัยนาท เขื่อนเจ้าพระยา เขื่อนเจ้าพระยา สามแยกเขื่อนเจ้าพระยา แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) สถานีขนส่งจังหวัดชัยนาท 29. กรุงเทพฯ เลย สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง สระบุรี แล้วแยกขวาไปตามทางหลวงหมายเลข 21 (ถ.มิตรภาพ) อ.ปากช่อง อ.สีคิ้ว แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 19 อ.ด่านขุนทด อ.จตุรัส ชัยภูมิ อ.แก้งคร้อ อ.ภูเขียว อ.ชุมแพ อ.ภูกระดึง เลย 89. กรุงเทพฯ หลังสวน สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (ถ.เพชรเกษม) นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ จนถึงประมาณกิโลเมตรที่ 499 (สี่แยกปฐมพร) แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 11 อ.สวี อ.หลังสวน ประกาศ ณ วันที่ 22 พฤศจิกายน 2510 พลโท พงษ์ ปุณณกันต์ ประธานคณะกรรมการควบคุมการขนส่ง ที่มาของข้อมูล http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DA.../D/023/851.PDF |
#9
|
||||
|
||||
![]() ประกาศคณะกรรมการควบคุมการขนส่งฉบับที่ 185 พ.ศ.2511 เรื่องกำหนดเส้นทางสำหรับการขนส่งรถโดยสารประจำทางด้ วยรถยนต์โดยสารระหว่างจังหวัด (เฉพาะเริ่มต้นจากจังหวัดพระนคร) 18. กรุงเทพฯ เชียงใหม่ (ข) สถานีขนส่งกรุงเทพฯ ทางหลวงหมายเลข 5 (พหลโยธิน) อ.บางเขน อ.วังน้อย สี่แยกหินกอง สระบุรี ลพบุรี ชัยนาท นครสวรรค์ กำแพงเพชร ตาก อ.เถิน อ.สบปราบ ลำปาง แยกซ้ายไปตามทางหลวงหมายเลข 11 สามแยกลำพูน สี่แยกสันกำแพง สี่แยกสันทราย สถานีขนส่งจังหวัดเชียงใหม่ ประกาศ ณ วันที่ 17 มกราคม 2512 พลโท พงษ์ ปุณณกันต์ ประธานคณะกรรมการควบคุมการขนส่ง ที่มาของข้อมูล http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DA.../D/007/174.PDF |
#10
|
||||
|
||||
![]() แจ่มครับ สำหรับคลังข้อมูลน้องพงษ์ รวมทั้งความเห็นของน้าต้อมด้วย
|
![]() |
คำสั่งเพิ่มเติม | ค้นหาในหัวข้อนี้ |
เรียบเรียงคำตอบ | |
|
|